Related Posts
การสอนงานด้วยการโค้ช
การพัฒนาบุคลากรมีด้วยกันหลายวิธี หนึ่งในนั้นคือการโค้ชหรือ Coaching ซึ่งเป็นหน้าที่หนึ่งของหัวหน้างาน หากเราดูกีฬาเรามักเห็นนักกีฬาจะมีโค้ชอยู่ข้างๆ เสมอ เพื่อช่วยแนะนำวิธีการเล่น การแก้เกมส์ของคู่ต่อสู้ การให้กำลังใจกับนักกีฬา การโค้ชจึงไม่การสอนงานเท่านั้น แต่การโค้ชเป็นการทำให้ผู้ถูกโค้ชประสบความสำเร็จอย่างที่ตั้งใจไว้ การโค้ชจึงต้องใช้ทักษะหรือความสามารถที่หลากหลายไม่ว่าจะเป็นการโน้มน้าว การอ่านลักษณะของผู้ถูกโค้ช การสร้างแรงบันดาลใน การสื่อสาร การฟัง ซึ่งล้วนเป็นทักษะที่ต้องได้รับการฝึกฝนทั้งสิ้น หลักสูตรการสอนงานด้วยการโค้ชนี้ จึงออกแบบมาให้ผู้เข้ารับการอบรมได้เรียนรู้เทคนิคต่างๆ ที่ต้องใช้ในการโค้ชเพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมได้เป็นโค้ชที่ดี วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้เข้าใจความหมายของการโค้ช 2. เพื่อทราบทักษะที่ต้องใช้ในการโค้ช 3. เพื่อทราบเทคนิคในการสื่อสารของโค้ชที่ดี หัวข้อการสัมมนา วันแรก 1. ความหมายและความสำคัญของการโค้ช 2. ความแตกต่างระหว่างการโค้ชกับการพัฒนาบุคลากรรูปแบบอื่นๆ 3. คุณสมบัติของโค้ชที่ดี 4. หน้าที่ของโค้ช 5. การกำหนดเป้าหมายของการโค้ช 6. ลักษณะของผู้รับการโค้ชที่ดี วันที่สอง 1. การสื่อสารและการฟังอย่างโค้ช 2. โค้ชเขาสร้างแรงจูงใจอย่างไร 3. การให้คำแนะนำและการป้อนกลับที่ดี (Advice & Feedback) 4. การเตียมการโค้ช 5. รูปแบบการโค้ชแบบต่างๆ วิธีการสัมมนา การบรรยายและฝึกปฏิบัติ คุณสมบัติผู้เข้าสัมมนา ผู้บริหาร, หัวหน้างาน ระยะเวลา 2 วัน วิทยากร อ. บรรณวิท มณีเนตร Read more →
ทักษะหัวหน้าเพื่อการทำงานเป็นทีม
การพัฒนาภาวะผู้นำ
การพัฒนาภาวะผู้นำ วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้ผู้รับการฝึกอบรมมีความรู้ ความเข้าใจ และทัศนคติทีดีในด้านการเป็นผู้นำยุคใหม่ 2. เพื่อเสริมสร้างให้ผู้รับการฝึกอบรมมีทักษะในการบริหารงานในฐานะผู้นำอย่างมีประสิทธิผล 3. เพื่อให้ผู้รับการฝึกอบรมได้มีปฏิสัมพันธ์ระหว่างกันเพื่อแลกเปลี่ยนความรู้ ประสบการณ์ และเสริมสร้างความสัมพันธ์ให้ดีมากยิ่งขึ้น หัวข้อการฝึกอบรม 1. ภาวะผู้นำกับองค์กรยุคใหม่ • แนวคิดหลักการ ของผู้นำ และภาวะผู้นำ • ความท้าทายของผู้นำในอนาคต • ประเมินภาวะผู้นำของตนเอง • สมรรถนะของผู้นำยุคใหม่(Leadership Competency) 2. สมรรถนะของผู้นำด้านความคิด (Thinking Skill) • ความเข้าใจพื้นฐานด้านการพัฒนาความคิด • การคิดเชิงวิเคราะห์ (System thinking) • การคิดเชิงอนาคต (Futuristic thinking) • การคิดเชิงกลยุทธ์ (Strategic thinking) • การคิดเชิงบวก ( Positive thinking) 3. สมรรถนะของผู้นำด้านการบริหารคน (Human Skill) • มนุษยสัมพันธ์เพื่อการบริหาร • ศิลปะการจูงใจอย่างมีประสิทธิผล • การสั่งงานและมอบหมายงานให้ได้งาน • การสร้างทีมงานเพื่อความเป็นเลิศ • กลยุทธ์การพัฒนผู้ใต้บังคับบัญชา 4. สมรรถนะของผู้นำด้านการบริหารงาน (Managerial Skill) • กลยุทธ์การวางแผนสำหรับผู้บริหาร • เทคนิคการควบคุมและติดตามงานที่มีประสิทธิภาพ • การแก้ไขปัญหาและตัดสินใจ • เทคนิคการพัฒนาและปรับปรุงงาน วิธีการฝึกอบรม เกมเพื่อการเรียนรู้ การระดมสมอง การอภิปราย การประชุมเชิงปฏิบัติการ(Workshop) การบรรยาย ผู้เข้ารับการฝึกอบรม บุคลากรระดับผู้บริหารขององค์กร กำหนดการฝึกอบรม 2 วัน Read more →
TPM สำหรับหัวหน้างาน
หลักสูตร TPM สำหรับหัวหน้างาน การที่จะนำหลักการของ TPM เข้ามาใช้ในองค์กรใดองค์กรหนึ่งนั้น นอกจากผู้บริหารองค์กรจะเป็นผู้ที่ผลักดันสนับสนุนให้เกิดกิจกรรมต่างๆ ขึ้นแล้วนั้น หัวหน้างานก็จะเป็นผู้ที่มีบทบาทสำคัญในการนำหลักการต่างๆ ของ TPM เข้าไปเริ่มปฏิบัติให้เกิดขึ้นภายในหน่วยงานที่อยู่ที่หน้างานได้จริง หัวหน้างานต้องสามารถถ่ายทอดหลักการต่างๆของ TPM ให้กับพนังงานใต้การบังคับบัญชา ควบคุมดูแลการปฏิบัติ และยังเป็นผู้สนับสนุนส่งเสริมให้เกิดการปฏิบัติเป็นไปต่างแนวทางที่ผู้ บริหารระดับสูงได้วางไว้ อีกทั้งยังสามารถทำให้พนักงานหน้างานตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น ได้อย่างทันท่วงที และยังสามารถตอบคำถามถึงการนำระบบ KPI (KEY PERFORMANCE INDICATOR) เข้ามาใช้ในองค์กรได้อย่างถูกต้องและใช้งานได้จริง วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้ผู้เข้าอบรมทราบถึงหลักการของการดำเนินการกิจกรรม TPM 2. เพื่อให้ทราบหลักการ เครื่องมือ ของแต่ละเสาหลัก 3. เพื่อให้เข้าใจการคำนวณค่าประสิทธิภาพโดยรวมของเครื่องจักร 4. เพื่อให้ทราบบทบาทและหน้าที่ของพนักงานแต่ละระดับในการดำเนินการกิจกรรม TPM หัวข้อการสัมมนา วันที่ 1 1. ความสูญเสียทั้ง 16 ประการ 2. การคำนวณค่า OEE (OVERALL EQUIPMENT EFFECTIVENESS) 3. การวิเคราะห์ค่า OEE 4. เทคนิคการลดความสูญเสียต่างๆ โดยใช้เครื่องมือในแต่ละเสาหลัก 5. หน้าที่ของเสาหลักทั้ง 8 ของ TPM 6. การเชื่อมโยงองค์กรสู่ TPM Action วันที่ 2 1. วิธีการดำเนินการ Planned Maintenance ของฝ่ายซ่อมบำรุง 3 ขั้นตอน • การจัดทำรายการเครื่องจักร • การทำการวิเคราะห์เครื่องเสีย • การจัดทำแผนการบำรุงรักษา 2. วิธีการดำเนินการ Autonomous Maintenance 3 ขั้นตอน • การทำความสะอาด • การลดเวลาในการทำความสะอาด • การจัดทำมาตรฐาน CIL • การใช้ Tag ... Read more →
การบริหารงานบำรุงรักษาเพื่อเพิ่มกำไร
การบริหารงานบำรุงรักษาเพื่อเพิ่มกำไร การบำรุงรักษา ทุกคนมองว่าเป็นงานที่มีแต่ค่าใช้จ่าย เป็นจุดใช้เงิน ถึงเวลาแล้วหรือยัง ที่จะทำให้งานบำรุงรักษา เป็นงานที่สร้างกำไร ให้กับหน่วยงานของท่าน การจัดการบำรุงรักษาที่ดี เป็นการสร้างผลกำไรให้กับหน่วยงานของท่าน มากกว่าที่คิดไว้มากมาย หลักสูตรเป็นบทสรุป ของงานบำรุงรักษาทั้งหมดที่ต้องมี เพื่อให้ท่านสามารถนำไปใช้ ในการสร้างกำไรให้กับหน่วยงานของท่าน ได้อย่างมีนัยสำคัญ วัตถุประสงค์ เพื่อให้เข้าใจประเภทของงานบำรุงรักษา เพื่อให้เข้าใจความสูญเสียของเครื่องจักร เพื่อให้ทราบการจัดความสำคัญของเครื่องจักร เพื่อให้ทราบวิธีการจัดทำฐานข้อมูลของเครื่องจักร เพื่อให้ทราบวิธีการวัดสมรรถณะของงานบำรุงรักษา เพื่อให้ทราบค่าใช้จ่ายโดยรวมของเครื่องจักรและความสูญเสียของเครื่องจักร เพื่อให้ทราบหลักการการจัดทำงบประมาณการบำรุงรักษา หัวข้อการสัมมนา เครื่องเสียเกิดขึ้นได้อย่างไร ประเภทของงานบำรุงรักษา การจัดทำข้อมูลเครื่องจักร การจัดลำดับความสำคัญของเครื่องจักร การแบ่งระดับของเครื่องจักร ระบบการเก็บข้อมูลการบำรุงรักษา ดัชนีชี้วัดสมรรถณะงานบำรุงรักษา ค่าใช้จ่ายของการบำรุงรักษา การจัดทำแผนการบำรุงรักษา การจัดทำมาตรฐานการบำรุงรักษา การจัดการอะไหล่ ค่าใช้จ่ายของการบำรุงรักษากับความสูญเสียของการขาดการบำรุงรักษา การจัดการงบประมาณการบำรุงรักษา วิธีการสัมมนา การบรรยายตัวอย่าง คุณสมบัติผู้เข้าร่วมสัมมนา ผู้บริหารระดับสูง, ผู้บริหารงานซ่อมบำรุง, วิศวกร, หัวหน้างานซ่อมบำรุง, ผู้ประสานงาน TPM, ผู้ที่สนใจ ระยะเวลาสัมมนา 1 วัน วิทยากร บรรณวิท มณีเนตร Read more →