Related Posts
การทำงานเป็นทีมที่มีประสิทธิภาพ
การทำงานเป็นทีมที่มีประสิทธิภาพ การทำงานเป็นทีมเป็นปัจจัยที่สำคัญทีมีส่วนสำเร็จในการทำงานที่ได้รับมอบหมาย แต่การที่จะบรรลุเป้าหมายได้อย่างราบรื่นของทีมงานมิได้ขึ้นอยู่กับบุคคลใดบุคคลหนึ่ง แต่ต้องอาศัยองค์ประกอบของการทำงานเป็นทีมที่ต้องมีเป้าหมาย มีหน้าที่ บทบาทของสมาชิก มีผู้นำที่มีความรอบรู้ นำไปสู่ทิศทางที่ถูกต้อง การมีส่วนร่วมของสมาชิกทีม ความไว้เนื้อเชื่อใจ การสื่อสาร สิ่งเหล้านี้เป็นองค์ประกอบการทำงานเป็นทีมที่มีประสิทธิภาพ วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้ผู้เข้าสัมมนาเข้าใจแนวความคิด และองค์ประกอบที่สำคัญของการทำงานเป็นทีม 2. เพื่อเสริมสร้างความกระตือรือร้น การมีส่วนร่วมของทีม ความรับผิดชอบ และการเป็นผู้นำ ผู้ตามของทีม หัวข้อการฝึกอบรม 1. องค์ประกอบและความหมายของการทำงานเป็นทีม 2. องค์ประกอบของการทำงานเป็นทีม 3. ขบวนการทำงาน เพื่อนำไปสู่เป้าหมายแห่งความสำเร็จ 4. สมาชิกและบทบาทของสมาชิกและผู้นำทีม 5. บรรยากาศที่ดีในการทำงานต่อการสร้างผลผลิตภายในองค์การ 6. การสร้างจิตสำนึกในการเพิ่มประสิทธิผลของทีมงาน วิธีการสัมมนา การบรรยาย เกมส์และกิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์ การประชุมจัดทำ Work shop และการนำเสนอผลงาน และอภิปราย แลกเปลี่ยนความคิดเห็น คุณสมบัติผู้เข้าร่วมสัมมนา หัวหน้างาน และพนักงานทั่วไป ระยะเวลาในการสัมมนา 1 วัน Read more →
หลักการ 5G และการวิเคราะห์ Why-Why เพื่อการแก้ปัญหาที่ถูกต้อง
หลักการ 5G และการวิเคราะห์ Why-Why เพื่อการแก้ปัญหาที่ถูกต้อง ในการทำงานย่อมต้องมีปัญหา แต่การที่จะแก้ปัญหาให้ได้อย่างเบ็ดเสร็จนั้นสิ่งที่สำคัญที่สุดคือ การหาสาเหตุของปัญหาที่เกิดขึ้นให้ได้ การที่จะทำเช่นนี้ได้อย่างถูกต้อง ต้องอาศัยหลักการที่ญี่ปุ่นให้กันอย่างกว้างขวางนั่นคือ 5G และใช้หลักการวิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหาอย่างมีเหตุและผลโดยการตั้งคำถามว่า “ทำไม” หรือ การวิเคราะห์ Why-Why เพื่อให้สามารถเข้าถึงรากของปัญหาได้อย่างแท้จริง การใช้งานให้เกิดประสิทธิภาพต้องใช้งาน 5G และ Why-Why เข้าด้วยกัน วัตถุประสงค์ เพื่อให้ทราบความแต่ต่างของการดำเนินการจากหลัการความจริงกับประสบการณ์ เพื่อให้ทราบความหมายของ 5G เพื่อให้ทราบการประยุกต์ใช้หลักการ 5G ในการทำงานจริง เพื่อให้สามารถกำหนดประเด็นของปัญหาได้ชัดเจนด้วย 5W+1H เพื่อให้ทราบหลักการของ การวิเคราะห์ Why-Why หัวข้อการสัมมนา ความหมายของ 3G ความหมายของ 5G ทำไมต้อง 5G การประยุกต์ใช้งาน 5G การวิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหาโดยใช้ Why-Why หลักการของการวิเคราะห์ Why-Why การใช้งานร่วมกันของหลักการ 5G และ Why-Why การฝึกวิเคราะห์จากปัญหาจริง วิธีการสัมมนา การบรรยาย Woskshop และตัวอย่างผลการดำเนินงานจริง คุณสมบัติผู้เข้าร่วมสัมมนา ผู้บริหารระดับกลาง, หัวหน้างาน, ผู้ที่สนใจ ระยะเวลาสัมมนา 1 วัน วิทยากร บรรณวิท มณีเนตร Read more →
ความเข้าใจ การนำใช้ ข้อกำหนด ISO14001:2004 สำหรับระดับหัวหน้างาน
ความเข้าใจ การนำใช้ ข้อกำหนด ISO14001:2004 สำหรับระดับหัวหน้างาน วัตถุประสงค์ 1. เพื่อสร้างความเข้าใจในระบบคุณภาพ ISO14001:2004 ให้กับระดับหัวหน้างานในการสนับสนุนระบบ 2. เพื่อให้ระดับหัวหน้างานสามารถมีทักษะเบื้องต้นในการถ่ายทอดความเข้าใจนี้กับพนักงานระดับปฏิบัติงานเพื่อสร้างความตระหนักและเตรียมพร้อมสำหรับขั้นตอนการเขียนเอกสารและปฏิบัตินำใช้เอกสาร เนื้อหาของหลักสูตร บทที่ 1 PDCA และ หลักการของการบริหารงาน สิ่งแวดล้อม บทที่ 2 รายละเอียด การตีความ และแนวคำถาม คุณสมบัติผู้เข้าสัมมนา พนักงาน/หัวหน้างาน ในกระบวนการผลิต ซึ่งกิจกรรม นั้นมีความเกี่ยวข้อง/ผลกระทบ ต่อนโยบายทางด้านสิ่งแวดล้อมขององค์กร รูปแบบการสัมมนา แบบฝึกหัดในชั้นเรียน โดยสามารถอิงกับตัวอย่างจริงขององค์กรถ้ามีความพร้อมด้านข้อมูล Read more →
การวิเคราะห์ระบบการวัด (Measurement System Analysis: MSA 3rd edition)
การวิเคราะห์ระบบการวัด (Measurement System Analysis: MSA 3rd edition) วัตถุประสงค์1. เพื่อสร้างความเข้าใจในหลักการและการนำใช้การวิเคราะห์ระบบการวัด 2. สามารถนำใช้เทคนิคนี้พร้อมกับเครื่องมืออื่นๆ เช่น PFMEA, Control Plan, GRR, Bias, Linearity, Stability อย่างมีประสิทธิภาพ เนื้อหาของหลักสูตร1. แหล่งความผันแปรกับระบบการวัด 2. คุณสมบัติในการแยกความแตกต่างของการวัด (Discrimination) 3. การวิเคราะห์ Bias, Linearity และ Stability 4. การศึกษาและตีความหมายของ GageR&R แบบข้อมูลผันแปร (Variable GR&R) 5. การศึกษาและตีความหมายของ Gage R&R แบบข้อมูลนับ (Attribute GR&R) 6. การวางแผนเพื่อวิเคราะห์ระบบการวัด 7. รายการคำถามและเทคนิคการตรวจประเมิน MSA 8. กรณีศึกษา/Workshop คุณสมบัติผู้เข้าสัมมนาเหมาะสำหรับหัวหน้างาน, วิศวกรตลอดจนถึงเจ้าที่ตรวจติดตามภายใน (Internal Auditor) ที่มีหน้าที่ที่เกี่ยวข้องกับการควบคุมและวิเคราะห์ระบบการวัด รูปแบบการสัมมนาแบบฝึกหัดในชั้นเรียน โดยสามารถอิงกับตัวอย่างจริงขององค์กรถ้ามีความพร้อมด้านข้อมูล Read more →
การวัดประสิทธิภาพโดยรวมของเครื่องจักร
การวัดประสิทธิภาพโดยรวม ของเครื่องจักร รหัสหลักสูตร: P1005 การวัดประสิทธิภาพ การทำงานของเครื่องจักร เป็นสิ่งที่จำเป็นอย่างยิ่ง ในการบริหารจัดการ แต่ปัญหาที่เกิดขึ้นคือ เมื่อต้องทำการวัดประสิทธิภาพ ของเครื่องจักรหลาย ๆ เครื่องที่ต่างแผนกกัน หรือเครื่องจักรแตกต่างกันอย่างสิ้นเชิง จะทำอย่างไร การวัดประสิทธิภาพ ที่สามารถเปรียบเทียบกันได้คือ วัดว่าเครื่องจักรนั้น ๆ มีความสูญเสียมากน้อยเพียงไร มากกว่าการผลิตได้เท่าไร ตัววัดที่บอกถึงความสูญเสียต่าง ๆ คือ การวัดประสิทธิภาพโดยรวม ของเครื่องจักร หรือ Overall Equipment Effectiveness (OEE) การวัดโดยการใช้ OEE นี้ จึงสามารถเปรียบเทียบประสิทธิภาพของเครื่องจักร ได้กับทั้งนอก และในกลุ่มธุรกิจเดียวกัน หลักสูตรนี้ จะวิธีการคำนวณค่า OEE เป็นอย่างไร และจะการเก็บข้อมูลทำอย่างไร วัตถุประสงค์ เพื่อให้เข้าใจความสูญเสียที่เกิดขึ้นกับเครื่องจักร เพื่อให้สามารถทำการเก็บข้อมูลต่าง ๆ ของเครื่องจักรได้ เพื่อให้สามาถคำนวณค่าความหร้อม สมรรถณะ อัตราของดีได้ หัวข้อการสัมมนา ความสูญเสียต่างๆ ของเครื่องจักร การคำนวณค่าความพร้อม การคำนวณค่าสมรรถณะ การคำนวณค่าอัตราของดี การคำนวณ OEE การตีความค่า OEE วิธีการสัมมนา การบรรยายตัวอย่าง และการทำ Woskshop คุณสมบัติผู้เข้าร่วมสัมมนา หัวหน้างานทุกแผนกขึ้นไป ระยะเวลาสัมมนา 1 วัน วิทยากร บรรณวิท มณีเนตร Read more →