AM กับ PM ทำอย่างไรให้ไปด้วยกันได้

AM กับ PM ทำอย่างไรให้ไปด้วยกันได้

         AM กับ PM ทำอย่างไรให้ไปด้วยกันได้ การดำเนินการกิจกรรม AM หรือ Autonomous Maintenance ซึ่งเป็นหัวใจและเป็นเอกลักษณ์ของ การทำ TPM ถ้าจะทำให้ได้ดีมีประสิทธิภาพสูงสุด ต้องมีเสาหลักอีกเสาที่เป็นของคู่กัน นั่นคือ เสาหลัก Planned Maintenance...
AM กับ PM ทำอย่างไรให้ไปด้วยกันได้

การวัดประสิทธิภาพโดยรวมของเครื่องจักร

การวัดประสิทธิภาพโดยรวม ของเครื่องจักร รหัสหลักสูตร: P1005 การวัดประสิทธิภาพ การทำงานของเครื่องจักร เป็นสิ่งที่จำเป็นอย่างยิ่ง ในการบริหารจัดการ แต่ปัญหาที่เกิดขึ้นคือ เมื่อต้องทำการวัดประสิทธิภาพ ของเครื่องจักรหลาย ๆ เครื่องที่ต่างแผนกกัน...
AM กับ PM ทำอย่างไรให้ไปด้วยกันได้

TPM สำหรับผู้บริหาร

TPM สำหรับผู้บริหาร รหัสหลักสูตร: P1002 ในสถานการณ์ในปัจจุบัน ที่ธุรกิจต้องแข่งขัน ไม่ใช่เพียงแต่กับคู่แข่งทางการค้า ทั้งภายใน และภายนอกประเทศเท่านั้น แต่เรายังต้องแข่งขัน กับการเปลี่ยนแปลงของโลก ที่เกิดขึ้นผันผวนอย่างไม่น่าเชื่อ การปรับตัวขององค์กร...
AM กับ PM ทำอย่างไรให้ไปด้วยกันได้

TPM กับการพัฒนาองค์กรขึ้นสู่สากลที่ยั่งยืน

รหัสหลักสูตร: P1001 TPM กับการพัฒนาองค์กรขึ้นสู่สากลที่ยั่งยืน TPM หรือ Total Productive Maintenance ถือว่าเป็นเครื่องมือหนึ่งที่ใช้กันมานานในบ้านเรา การทำ TPM หลายองค์กรมองว่าเป็นเพียงแค่การทำให้เครื่องจักรไม่เสีย...
AM กับ PM ทำอย่างไรให้ไปด้วยกันได้

การประยุกต์ใช้การควบคุมกระบวนการทางสถิติ

การประยุกต์ใช้การควบคุมกระบวนการทางสถิติ หลักสูตรครอบคลุมการควบคุมกระบวนการผลิตด้วยเทคนิคด้านสถิติหรือ Statistic Process Control (SPC) พร้อมทั้งทราบถึงแนวทางการปฏิบัติที่ดี และเทคนิคการตรวจประเมินแบบผู้เชี่ยวชาญ ตามแนวทางของ AIAG และ ISO/TS16949 วัตถุประสงค์...
AM กับ PM ทำอย่างไรให้ไปด้วยกันได้

บทบาทของผู้บริหารในการสนับสนุนระบบ ISO/TS16949:2002

บทบาทของผู้บริหารในการสนับสนุนระบบ ISO/TS 16949:2002 วัตถุประสงค์เพื่อให้ผู้บริหารรับทราบบทบาทของระดับบริหารในการสนับสนุน และกำหนดทิศทางระบบคุณภาพขององค์กรให้เป็นที่ยอมรับของอุตสาหกรรมยานยนต์และอิเลคโทรนิคส์นี้ เนื้อหาของหลักสูตร1. มาตรฐาน ISO/TS16949:2002 คืออะไร...
AM กับ PM ทำอย่างไรให้ไปด้วยกันได้

การวิเคราะห์ระบบการวัด (Measurement System Analysis: MSA 3rd edition)

การวิเคราะห์ระบบการวัด (Measurement System Analysis: MSA 3rd edition) วัตถุประสงค์1. เพื่อสร้างความเข้าใจในหลักการและการนำใช้การวิเคราะห์ระบบการวัด 2. สามารถนำใช้เทคนิคนี้พร้อมกับเครื่องมืออื่นๆ เช่น  PFMEA, Control Plan, GRR, Bias, Linearity, Stability...
AM กับ PM ทำอย่างไรให้ไปด้วยกันได้

ความเข้าใจ การนำใช้ข้อกำหนดที่จำเพาะเจาะจงของลูกค้า กับข้อกำหนด ISO/TS16949:2002

ความเข้าใจ การนำใช้ข้อกำหนดที่จำเพาะเจาะจงของลูกค้า กับข้อกำหนด ISO/TS16949:2002 วัตถุประสงค์เพื่อให้องค์กรสามารถเชื่อมโยงข้อกำหนดที่จำเพาะเจาะจงของลูกค้า (Tier 1 หรือ OEM) แต่ละเจ้า กับข้อกำหนด ISO/TS 16949:2002 ซึ่งทางองค์กรยึดถือปฏิบัติเองอยู่แล้ว...
AM กับ PM ทำอย่างไรให้ไปด้วยกันได้

ความเข้าใจ การนำใช้ ข้อกำหนด ISO/TS 16949:2002 สำหรับระดับหัวหน้างาน

ความเข้าใจ การนำใช้ ข้อกำหนด ISO/TS 16949:2002 สำหรับระดับหัวหน้างาน วัตถุประสงค์ 1. เพื่อสร้างความเข้าใจในระบบคุณภาพ ISO/TS16949 ให้กับระดับหัวหน้างานในการสนับสนุนระบบ...
AM กับ PM ทำอย่างไรให้ไปด้วยกันได้

ความเข้าใจ การนำใช้ ข้อกำหนด ISO/TS16949:2002

ความเข้าใจ การนำใช้ ข้อกำหนด ISO/TS16949:2002 วัตถุประสงค์ 1. เข้าใจในที่มาและหลักการของมาตรฐาน ISO/TS16949:2002 2. เข้าใจในระบบเอกสาร การจัดทำและการควบคุมเอกสารในระบบมาตรฐาน ISO/TS16949:2002 3. สร้างความตระหนัก ในระบบบริหารจัดการสิ่งแวดล้อม ISO/TS16949:2002...
AM กับ PM ทำอย่างไรให้ไปด้วยกันได้

ความเข้าใจ การนำใช้ ข้อกำหนด ISO14001:2004 สำหรับระดับหัวหน้างาน

ความเข้าใจ การนำใช้ ข้อกำหนด ISO14001:2004 สำหรับระดับหัวหน้างาน วัตถุประสงค์ 1. เพื่อสร้างความเข้าใจในระบบคุณภาพ ISO14001:2004 ให้กับระดับหัวหน้างานในการสนับสนุนระบบ...
AM กับ PM ทำอย่างไรให้ไปด้วยกันได้

การเขียนและการวิเคราะห์ PAR and CAR

  การเขียนและการวิเคราะห์ PAR and CAR หลักสูตรที่จะทำให้ผู้เข้ารับการอบรม เข้าใจกระบวนการในกระบวนการออกเอกสาร CAR และ PAR ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ผู้เข้ารับอบรมจะเรียนรู้นิยามของปัญหาหรือสิ่งที่ไม่เป็นไปตามข้อกำหนด รวบยอดความคิดและสรุปเป็นประโยคที่สั้น...